[x] ปิดหน้าต่างนี้
KMOBECMAXSITE 1.2.1
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา
เรื่อง : แผนการจัดการความรู้ การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมแต่ละประเภท


TOP HIT
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

- การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม มีความสำนึกในความเป็นชาติไทย ของ สพป.ลำพูน เขต 2 [ 1900 ]
- รายงานการดำเนินงานคำรับรองการปฏิบัติราชการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 [ 1505 ]
- การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วม ส่วนที่ 2 [ 1370 ]
- การดำเนินงานส่งเสริมการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545 [ 1337 ]
- การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วม ส่วนที่ 4 [ 1060 ]

 แผนการจัดการความรู้ การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมแต่ละประเภท ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 2

องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ 

 

แบบฟอร์มที่   การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ

ชื่อส่วนราชการ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หน้าที่ 1

ประเด็นยุทธศาสตร์

(กลยุทธ์)

เป้าประสงค์

(Objective)

ตัวชี้วัด (KPI)

ตามคำรับรอง

เป้าหมายของตัวชี้วัด

องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ

ตามประเด็นยุทธศาสตร์

ขยายโอกาส            ทางการศึกษา       ขั้นพื้นฐาน

 

ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิอย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และตรงตามศักยภาพ

 ร้อยละของนักเรียนพิการที่ได้รับโอกาสพัฒนาสมรรถภาพ

ร้อยละของนักเรียนด้อยโอกาสที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษา

ARS 11 จำนวนเด็กพิการที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ร้อยละ 100

 

ร้อยละ 100

 

ร้อยละ 100

 

1.             วิธีคัดกรองเด็กพิการแต่ละประเภท

2.             การจัดทำแผน IEP

3.              การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมแต่ละประเภท

4.             วิธีประเมินพัฒนาการของเด็ก

 

องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้  คือ

แผนการจัดการ

ความรู้

แผนที่ 1

ประเด็นยุทธศาสตร์  3 ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

องค์ความรู้ที่จำเป็น      :   การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมแต่ละประเภท

เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้  เด็กพิการเรียนร่วม แต่ละประเภทควรได้รับการดูแล ส่งเสริม พัฒนาการ ให้สอดคล้องเหมาะสมตามศักยภาพ

ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ KM :  ตัวชี้วัดที่ 3.2.3  3.2.4  ARS 11

ผู้ทบทวน   :

 

          ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)

ผู้อนุมัติ   :

 

                  ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)

             

 

แผนการจัดการความรู้

แบบฟอร์มที่ 2  แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)

ชื่อส่วนราชการ     สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาลำพูน เขต 2

หน้าที่ 1/

ประเด็นยุทธศาสตร์          ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

องค์ความรู้ที่จำเป็น (K)      การพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมแต่ละประเภท

ตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรอง         :  ตัวที่ 3.2.3 ร้อยละของนักเรียนพิการที่ได้รับโอกาสพัฒนาสมรรถภาพ  3.2.4   ARS 11

เป้าหมายของตัวชี้วัดตามคำรับรอง  ร้อยละ 100

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

1

การบ่งชี้ความรู้

1.1   ประชุมชี้แจงแจ้งนโยบายการดูแลเด็กพิการเรียนร่วม            โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้

 

 

 

1.2   เชิญผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพิการเรียนร่วมและตัวแทนครูในโรงเรียนแกนนำพิการเรียนร่วมประชุมวิเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาสมสรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมในแต่ละประเภท

 

 

 

มี.ค. 2553

 

 

 

 

มี.ค. 2553

 

 

 

จำนวนผู้รับทราบนโยบาย 

 

 

 

จำนวนครั้ง

จำนวนผู้เข้าประชุม 

 

 

 

 

88 คน

 

 

 

 

ครั้ง

44  คน

 

 

 

  

 

ผอ.โรงเรียน
ครูผู้รับผิดชอบงานดูแลเด็กพิการ เรียนร่วมของ โรงเรียน

ผู้เชี่ยวชาญ /ตัวแทนครูในโรงเรียนแกนนำพิการเรียนร่วม

 

ส่งเสริมฯ

สพท.ลพ.2

 

 

 

ส่งเสริมฯ

สพท.ลพ.2

 

 

 

  

 

ระยะเริ่มดำเนินการ

 

 

 

ระยะเริ่มดำเนินการ

 

KMP1

CMP1

CMP2

 

 

CMP2

 

                   

 

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

 เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

2

การสร้างและแสวงหาความรู้

2.1 ศึกษาหลักสูตร วิธีการ เนื้อหาการพัฒนาเด็กพิการ            เรียนร่วมจากศูนย์การศึกษาพิเศษ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ เอกสาร / ผู้รู้ / ผู้เชี่ยวชาญฯลฯ  รวบรวมสังเคราะห์ในรูปเอกสาร หรือสื่ออิเลคทรอนิคส์

 

 

 

เม.ย. 2553

 

 

 

 

จำนวนเอกสารที่ได้รับการสังเคราะห์

 

 

 

 

ต้นฉบับชุด

 

 

 

ทีมงานKM สพท.

 

ส่งเสริมฯ

 

 

 

 

ระยะดำเนินการ

 

 

 

CMP2

CMP3

3.

การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

 - จัดทำคู่มือการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการเรียนร่วมในแต่ละประเภทให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม              ได้อย่างมีความสุข

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พ.ค. 2553

 

 

 

 

 จำนวนประเภทของ                   องค์ความรู้

 

 

 

 

 

 

 

9ประเภท

 

 

 

 

ทีมงานKM สพท.

 

 

 

 

ส่งเสริมฯ

 

 

 

 

 ระยะดำเนินการ

 

 

 

KMP3

CMP3

 

 

 

 

 

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

4.

การประมวลและกลั่นกรองความรู้

4.1  คณะทำงาน/ผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิด้านพิการเรียนร่วม     ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ในเรื่องเนื้อหาฐานความรู้ขององค์ความรู้และภาษาที่ใช้

4.2 สังเคราะห์องค์ความรู้ในแต่ละเรื่อง และจัดลำดับการนำเสนอเนื้อหาให้เหมาะสมรวบรวมจัดเป็นฐาน     องค์ความรู้ที่สมบูรณ์ เพื่อสะดวกในการศึกษาค้นคว้า

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พ.ค. 2553

 

 

 

 

 

 

พ.ค. 2553

 

 

 

1. จำนวนประเภทของ                 องค์ความรู้ที่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของเนื้อหา /สาระ

 

 

2. จำนวนองค์ความรู้ที่มีความถูกต้อง  ครบถ้วนสมบูรณ์  

 

 

 

ประเภท

 

 

 

 

 

 

ประเภท

 

 

 

 

 

คณะทำงาน/ผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิด้านเด็กพิการเรียนร่วม    

 

 

 

คณะทำงานKM และผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพฯ

 

 

 

 

กลุ่มส่งเสริมฯ

สพท.ลำพูน 2 

 

 

 

 

 

กลุ่มส่งเสริมฯ

สพท.ลำพูน 2 

 

 

 

ระยะดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

ระยะดำเนินการ

 

 

KMP4

CMP2

CMP3

CMP5

 

 

 

CMP2

CMP3

CMP5

 

 

 

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

5.

การเข้าถึงความรู้

5.1 จัดอบรมพัฒนาทักษะครู            พี่เลี้ยงให้ความรู้แก่ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วม

5.2  ฝึกประสบการณ์โดยวิธีการ สอนแนะ (Coaching )

5.3.ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ                     เรียนร่วมศึกษาคู่มือการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กพิการเรียนร่วมในแต่ละประเภท

5.4 ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ                   เรียนร่วมถอดประสบการณ์  จากครูแกนนำและสรุปเป็น               ขุมความรู้

5.5 การเผยแพร่ความรู้                    ผ่านช่องทางต่าง ๆ

 

 

 

 

 

 

 

มิ.ย. 2553

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ร้อยละของครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วมที่มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมกับเด็กพิการแต่ละประเภท

 

 

 

 

 

 

 

จำนวนช่องทางที่เผยแพร่ความรู้

 

 

 

ร้อยละ90

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จำนวน 2ช่องทาง

 

ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กลุ่มส่งเสริมฯ

สพท.ลำพูน 2 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระยะดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

KMP5

CMP2

CMP3

CMP4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

6.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

7.

 

การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้

6.1  จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แก่

 - โดยถอดประสบการณ์การจากเรื่องเล่าเร้าพลัง

 เรียนรู้จากวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Adapted  best Practices)

-  จัดคลินิกครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ          เรียนร่วม

6.2  รวบรวมขุมความรู้ที่ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์

การเรียนรู้

7.1      จัดกิจกรรมทบทวน

หลังปฏิบัติกิจกรรม (AAR)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ก.ค. - ส.ค.2553

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส.ค. ก.ย. 2553

 

 

 

1. จำนวนครั้งในการจัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. จำนวนครั้งที่จัดทำAAR

 

อย่างน้อย 1ครั้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ภาคเรียนละครั้ง

 

ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วมจำนวน44 คน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วม

 

กลุ่มส่งเสริมฯ

สพท.ลำพูน 2 

 

 

 

 

 

 

 

 

  

ทีมงาน KMสพท./

 

ระยะดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระยะหลังดำเนินการ

 

KMP6

CMP2

CMP3

CMP4

 

 

 

 

 

 

 

KMP7

CMP2

CMP5

CMP1

CMP4

 

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่ม เป้าหมาย

ผู้รับผิดชอบ

สถานะ

หมายเหตุ

7.

 

 

 

 

 

8.

7.2  นำข้อค้นพบมาวางแผนพัฒนา การดำเนินงานครั้งต่อไป

 

7.1      เรียบเรียงวิธีการปฏิบัติงานที่     ประผลสำเร็จเป็น Best Practice  ขององค์กร 

การยกย่องและชมเชย

8.1 ประเมินและคัดเลือกครูพี่เลี้ยงดีเด่น ประกาศเกียรติคุณ มอบเกียรติบัตร

8.2  เผยแพร่ผลงาน

ส.ค. ก.ย. 2553

 

 

ส.ค. ก.ย. 2553

 

 

 

ส.ค. ก.ย. 2553

 

 

ส.ค. ก.ย. 2553

2. ร้อยละของ ร.ร. ที่ดำเนินการ

 

3. ร้อยละของร.ร. ที่ดำเนินการ

 

 

จำนวนครูพี่เลี้ยง ที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณ/มอบเกียรติบัตร

เผยแพร่

ร้อยละ90

 

 

ร้อยละ90

 

 

 

  คน

 

 

คน

 

 

ทีมงานKM สพท.

 

44 ร.ร.

 

 

 

ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการเรียนร่วมจาก 44 ร.ร.

ส่งเสริมฯ

สพท.ลพ.2

  

ทีมงาน KMสพท.

 

 

 

ทีมงาน KMสพท.

 

ระยะหลังดำเนินการ

 

ระยะหลังดำเนินการ

 

 

ระยะหลังดำเนินการ

CMP4

 

 

CMP3

CMP5

 

 

CMP6

 ผู้ทบทวน   :

 

 

 ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)

ผู้อนุมัติ   :

 

 

                  ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)

 

 

 

 

§  ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง KMP และ CMP

           CMP

KMP

1. การเตรียมการและ   

    การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

2.  การสื่อสาร

3.  กระบวนการและ

     เครื่องมือ

4.  การเรียนรู้

5.  การวัดผล

6.  การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล

1.  การบ่งชี้ความรู้

l

l

 

 

 

 

2.  การสร้างและแสวงหา

     ความรู้

 

l

l

 

 

 

3. การจัดความรู้ให้

     เป็นระบบ

 

 

l

 

 

 

4.  การประมวลและ

     กลั่นกรองความรู้

 

l

l

 

l

 

5.  การเข้าถึงความรู้

 

l

l

l

 

 

6.  การแบ่งปัน

     แลกเปลี่ยนความรู้

 

l

l

l

 

 

7.  การเรียนรู้

 

l

l

l

l

l

l

หมายเหตุ l หมายถึง มีผลกระทบหรือความเชื่อมโยงในระดับมาก  ¡ หมายถึง  มีผลกระทบหรือความเชื่อมโยงระดับปานกลาง

| ดาวน์โหลดเอกสาร | เข้าชม : 754 |
ผู้เขียน : พงศ์พล ห่อตระกูล
หน่วยงาน : -
พุธ ที่ 11 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.


เชิญร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยสมัครเป็นสมาชิกของศูนย์จัดการความรู้
สิทธิของสมาชิก สามารถบันทึกขุมความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และดาวน์โหลดได้