ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป
ชื่อผลงาน รายงานการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
ของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561
ผู้รายงาน นางณัฐชยาพร ศรีอรรถิกานันท์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านป่าพลู
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ของโรงเรียนบ้านป่าพลู โดยใช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) และเพื่อหาแนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาโดยแจกแบบสอบถาม มีจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียน และครูระดับปฐมวัย ที่รับผิดชอบโครงการฯ ที่เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่น 1-2 เฉพาะโรงเรียนในอำเภอบ้านโฮ่ง ครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย Local Trainer และ Local Network
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถาม และการประชุมสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion แนวทางวิธีการพัฒนาโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยของโรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย (m) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ผลการประเมินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียน บ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ปีการศึกษา 2561 ในภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด (m=4.52, s=0.43) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากสูงสุด คือ ด้านผลผลิต (m= 4.77, s= 0.30) รองลงมาคือ ด้านบริบท (m= 4.62, s= 0.40) ด้านกระบวนการ (m= 4.52, s= 0.49) และด้านปัจจัยนำเข้า (m= 4.17, s= 0.52) แนวทางวิธีการพัฒนาการดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยของโรงเรียนบ้านป่าพลู ที่ได้จากการสนทนากลุ่ม Focus Group Discussion ตามรูปแบบ CIPP MODEL พบว่าผู้บริหารโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย และชุมชน ควรร่วมกันระดมความคิด หาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) สภาพแวดล้อม ความต้องการในการพัฒนานักเรียนระดับปฐมวัย เพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนและผู้ปกครองระดับปฐมวัยในการชี้แนะและพัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนทักษะวิทยาศาสตร์ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ศึกษาแนวทางการขอรับการประเมินเพื่อรับตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” และดำเนินการตามแนวทางให้ครบถ้วน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม (Participation) และควรมีการประสานงาน/ความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวกับโครงการฯ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ความสำคัญ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ มีการส่งเสริมพัฒนาครูผู้สอนระดับปฐมวัย จัดสรรงบประมาณใน การดำเนินกิจกรรมต่างๆอย่างเพียงพอ มีการนิเทศติดตาม ให้ขวัญและกำลังใจ ครูระดับปฐมวัยควรรู้และเข้าใจหลักการและวิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมวิทยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตร์โดยเน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จัดมุมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนควรให้การสนับสนุนวัสดุ สิ่งของหรืออื่นๆ ที่ทางโรงเรียนขอความร่วมมือ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ และเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น ค่ายวิชาการปฐมวัย หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดอบรบให้ความรู้ แก่ครูผู้สอนในโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง และนิเทศ ติดตาม รวมทั้งจัดสรรงบประมาณในการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อให้นักเรียนระดับปฐมวัย มีความพร้อมด้านทักษะ การรับรู้ของประสาทสัมผัสทั้งห้า ตา หู จมูก ลิ้น และมือ ผ่านกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ผู้ปกครองนักเรียนระดับปฐมวัย มีความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์ พัฒนาการของนักเรียน ครูผู้สอนระดับปฐมวัย มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน มีทักษะในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ และโรงเรียนมีคุณสมบัติที่ จะขอรับตราพระราชทาน เพื่อคงสภาพรางวัลโครงการบ้านนักวิทายาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รุ่นที่ 6
สรุปได้ว่า โรงเรียนบ้านป่าพลู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทยต่อไป