[x] ปิดหน้าต่างนี้
KMOBECMAXSITE 1.2.1
การบริหารสถานศึกษา
เรื่อง : โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2


TOP HIT
การบริหารสถานศึกษา

- การขับเคลื่อนโครงการพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใสของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 [ 297 ]
- การพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 [ 132 ]
- โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 [ 129 ]

 ชื่อเรื่อง       การประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                โรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2             

ชื่อผู้รายงาน นายพิเชษฐ์  บุญสุ

ปีที่รายงาน  2565

บทคัดย่อ 

            การประเมินรายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการประเมินรายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ จำนวน 27 คน ประชากร ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 18 คน ใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST Model  โดยประยุกต์จากแนวคิดของ Daniel L. Stufflebeam et.al เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน มีจำนวนทั้งหมด 5 ฉบับ ประกอบด้วย ฉบับที่ 1 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านบริบท ฉบับที่ 2 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านปัจจัย ฉบับที่ 3 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านกระบวนการ ฉบับที่ 4 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน  เขต 2 ด้านผลผลิต และฉบับที่ 5 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายทอดส่งต่อ เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร นำมาวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติบรรยายด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

             สรุปผล พบว่า

             1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2 ตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             2. ผลการประเมินด้านปัจจัยของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             3. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 4 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 

             4.  ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณา ผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 7 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             5. ผลการประเมินด้านผลกระทบของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก

             6. ผลการประเมินด้านประสิทธิผลของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

              7. ผลการประเมินด้านความยั่งยืนของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก

              8. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัดและมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

               9. ผลการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้าน ด้านกระบวนการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านบริบท ด้านปัจจัย   ด้านผลผลิต ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายทอดส่งต่อ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกผลการประเมินตามตัวชี้วัดทั้ง 23 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 23 ตัวชี้วัด โดยมีผลอยู่ในระดับมากที่สุด 4 ตัวชี้วัด อยู่ในระดับมาก 19 ตัวชี้วัด   

 

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ชื่อเรื่อง       การประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                โรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2             

ชื่อผู้รายงาน นายพิเชษฐ์  บุญสุ

ปีที่รายงาน  2565 

            การประเมินรายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินการประเมินรายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ จำนวน 27 คน ประชากร ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 18 คน ใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST Model  โดยประยุกต์จากแนวคิดของ Daniel L. Stufflebeam et.al  เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน  มีจำนวนทั้งหมด 5 ฉบับ ประกอบด้วย ฉบับที่ 1 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านบริบท ฉบับที่ 2 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านปัจจัย ฉบับที่ 3 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านกระบวนการ ฉบับที่ 4 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านผลผลิต และฉบับที่ 5 แบบประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายทอด ส่งต่อ เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร นำมาวิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติบรรยายด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

             สรุปผล พบว่า

             1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2 ตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             2. ผลการประเมินด้านปัจจัยของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             3. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 4 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 

             4.  ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณา ผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 7 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

             5. ผลการประเมินด้านผลกระทบของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัดทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก

             6. ผลการประเมินด้านประสิทธิผลของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

              7. ผลการประเมินด้านความยั่งยืนของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัด และมีผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก

              8. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 พบว่า อยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินแต่ละตัวชี้วัด ทั้ง 2 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกตัวชี้วัดและมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก

               9. ผลการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินในแต่ละด้าน ด้านกระบวนการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านบริบท ด้านปัจจัย   ด้านผลผลิต ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายทอดส่งต่อ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก และเมื่อจำแนกผลการประเมินตามตัวชี้วัดทั้ง 23 ตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 23 ตัวชี้วัด โดยมีผลอยู่ในระดับมากที่สุด 4 ตัวชี้วัด อยู่ในระดับมาก 19 ตัวชี้วัด   

 

ข้อเสนอแนะ

             จากผลการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 มีข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาไปใช้ ดังนี้

             ระดับโรงเรียน

             1. โรงเรียนบ้านห้วยแพ่งควรนำผลการประเมินมาปรับปรุงการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อให้โรงเรียนบ้านห้วยแพ่งพร้อมรับการประเมินภายนอกรอบต่อไปจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

             2. โรงเรียนบ้านห้วยแพ่งควรนำผลการประเมินด้านกระบวนการและด้านผลผลิต ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทและหน้าที่ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 มาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาให้มากยิ่งขึ้น

            ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

             1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 มาเป็นข้อมูลหรือแนวทางในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนอื่น ๆ ที่อยู่ในสังกัดให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ช่วยให้โรงเรียนอื่น ๆ มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้มากยิ่งขึ้น และเพื่อให้โรงเรียนอื่น ๆ พร้อมรับการประเมินภายนอกรอบต่อไปจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

             2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำพูน เขต 2 ควรนำผลการประเมินด้านกระบวนการและด้านผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาในสังกัด มีการส่งเสริมขวัญและกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในระดับโรงเรียนให้มากยิ่งขึ้น

| เข้าชม : 128 |
ผู้เขียน : นายพิเชษฐ์ บุญสุ
หน่วยงาน : โรงเรียนบ้านห้วยแพ่ง
ศุกร์ ที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ.2565
5 stars เฉลี่ย : 5 จาก 3 ครั้ง.


เชิญร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยสมัครเป็นสมาชิกของศูนย์จัดการความรู้
สิทธิของสมาชิก สามารถบันทึกขุมความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และดาวน์โหลดได้